การประชุมนานาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 1
“สิทธิมนุษยชนในอุษาคเณย์”
เวทีวิชาการนานาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน “ครั้งแรก” ของประเทศในภูมิภาค
จัดโดย
เครือข่ายสิทธิมนุษยชนศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ
ศูนย์สิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
วันที่ 14-15 ตุลาคม 2553 ห้องประชุมภาณุรังษี โรงแรมรอยัลริเวอร์
ปาฐกถานำโดย
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน
และปัจฉิมกถา โดย ชานติ ไดเรียม อดีตกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิสตรี
ประเด็นไฮไลต์
- เสรีภาพสื่อและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
- สิทธิมนุษยชนกับความขัดแย้งทางการเมืองไทย
- สันติภาพ ความมั่นคงและการก่อการร้าย
- การพัฒนาเศรษฐกิจและสิทธิกำหนดแนวทางการพัฒนาของประชาชน
- สิทธิการจัดการที่ดิน-ทรัพยากรธรรมชาติ
- กระบวนการยุติธรรมในยุคเปลี่ยนผ่าน: การไม่ใช้ความรุนแรงและประชาสังคม
- ประชาธิปไตย: สิทธิกับความรับผิดรับชอบ
- การเลือกตั้งในพม่า
- ประเด็นสิ่งแวดล้อม การศึกษา ศาสนา การพัฒนาประชาธิปไตย
- สิทธิเด็ก สิทธิสตรี สิทธิของผู้พิการ
- สิทธิคนชายขอบ; กลุ่มชาติพันธุ์ คนไร้รัฐ ผู้ลี้ภัย และแรงงานข้ามชาติ
กำหนดการประชุมวิชาการครั้งที่ 1
“สิทธิมนุษยชนในอุษาคเณย์”
วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2553
09.00-09.15 พิธีเปิดการประชุม
09.15-10.00 ปาฐกถาพิเศษ โดย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)
10.00-10.30 พักรับประทานอาหารว่าง
10.30-12.00 การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “สิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
ศาสตราจารย์วิทิต มันตาภรณ์ ประธานร่วมคณะทำงานเพื่อกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ภาคประชาสังคม)
ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี ผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
Prof. Carlos Medina เลขาธิการคณะทำงานเพื่อกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน
Dr. Azmi Sharom อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
นำเสนองานทางวิชาการ
13.00-15.00
Session A
ห้อง A1 ภานุรังษี A อาเซียน สิทธิมนุษยชน และประชาสังคม
ห้อง A2 ภานุรังษี B เสรีภาพในการแสดงออกและสื่อออนไลน์
ห้อง A3 ภานุรังษี C ความเป็นสากลของวัฒนธรรมและการเมืองเรื่องสิทธิมนุษยชนภาค 1
ห้อง A4 บงกชรัตน์ A ผู้หญิง: สิทธิมนุษชนและความยุติธรรมทางสังคม I
ห้อง A5 บงกชรัตน์ B สิทธิชนพื้นเมือง ชาติพันธุ์ และชนกลุ่มน้อย
ห้อง A6 บุษบงกช A ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และการศึกษา
15.00-15.30 พักรับประทานอาหารว่าง
นำเสนองานทางวิชาการ
15.30-17.30
Session B
ห้อง B1 ภานุรังษี A กระบวนการยุติธรรมในยุคเปลี่ยนผ่าน: การไม่ใช้ความรุนแรงและประชาสังคม
ห้อง B2 ภานุรังษี B เสรีภาพในทางการเลือกนับถือศาสนา
ห้อง B3 ภานุรังษี C สิทธิในการกำหนดอนาคตของตนเองกับการพัฒนา
ห้อง B4 บงกชรัตน์ A ผู้หญิง:สิทธิมนุษชนและความยุติธรรมทางสังคม II
ห้อง B5 บงกชรัตน์ B สิทธิแรงงาน ผู้อพยพ และคนไร้รัฐ
ห้อง B6 บุษบงกช A สิทธิมนุษยชนและการทูตระดับภูมิภาค
ห้อง B7 บุษบงกช B การจัดการ ความเสมอภาคและสิทธิมนุษยชน
วันศุกร์ที่ 15 ตุลาคม 2553
09.00-10.30 การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง เพศสถานะและสิทธิมนุษยชน
King Oey, Arus Pelangi, Jakarta
Prof. Danton Remoto, Ang Ladlad, Manila
Khartini Slamah, Asia Pacific Transgender Network, Kuala Lumpur
George Hwang, Barrister, Singapore
10.30-11.00 พักรับประทานอาหารว่าง
นำเสนองานทางวิชาการ
Session C
11.00-13.00
ห้อง C1 ภานุรังษี A ความขัดแย้ง ความมั่นคงและสันติภาพ
ห้อง C2 ภานุรังษี B การซ้อมทรมานในกระบวนการยุติธรรม
ห้อง C3 ภานุรังษี C ประชาธิปไตย: สิทธิกับความรับผิดรับชอบ
ห้อง C4 บงกชรัตน์ A ผู้หญิง:สิทธิมนุษชนและความยุติธรรมทางสังคม III
ห้อง C5 บงกชรัตน์ B สิทธิคนชายขอบ: เด็กและผู้พิการ
ห้อง C6 บุษบงกช A ความรุนแรงโดยรัฐและการเคลื่อนไหวโดยไม่ใช้ความรุนแรง
13.00 – 14.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
นำเสนองานทางวิชาการ
14.00-16.00
Session D
ห้อง D1 ภานุรังษี A ความขัดแย้ง สิทธิมนุษยชน และกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
ห้อง D2 ภานุรังษี B กระบวนการต่อสู้เพื่อความยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
ห้อง D3 ภานุรังษี C สิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม
ห้อง D4 บงกชรัตน์ A เพศสถานะและสิทธิมนุษยชน
ห้อง D5 บงกชรัตน์ B สิทธิผู้ลี้ภัยและผู้อพยพ
ห้อง D6 บุษบงกช A เศรษฐกิจและสังคม จากพื้นฐานสิทธิมนุษยชน
ห้อง D7 บุษบงกช B การจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ
16.00-16.15 พักรับประทานอาหารว่าง
16.15-17.00 ปัจฉิมกถา
Ms. Shanthi Diariam, อดีตสมาชิกคณะกรรมการสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW Committee member)
17.00-17.15 พิธีปิดการประชุม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น