วันพฤหัสบดีที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน + เผยแพร่และป้องกัน


จาก: lee lee <thai9lee@gmail.com>
วันที่: 21 ธันวาคม 2553, 13:21
หัวเรื่อง:ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน + เผยแพร่และป้องกัน
ถึง:
เพื่อเผยแพร่และป้องกันคะ
thanks

kamolpan




 

 

มีโอกาสได้รวบรวม เลยเอามาแบ่งๆ กันดูครับ จะได้ระวังกันไว้

 

Araya   Mangkranonchai

 

Plan and Policy Analyst

Office of National Economics and Social Development Board

Tel  02-2804085 ; 2415,2417

E-mail: araya-m@nesdb.go.th

 










Season's Greetings from TI


From: 14IACC <14iacc@transparency.org>
Date: 2010/12/20
Subject: Season's Greetings from TI
To:


 

 

Transparency International is the global civil society organisation leading the fight against corruption.

www.transparency.org

This email is confidential and intended for the addressee only. If you are not the intended recipient, any use, disclosure, distribution, printing or copying of this email is unauthorised. If you have received this email in error, please immediately notify the sender by replying to the email, then delete all copies from your computer. This email and its attachments have been swept for computer viruses but Transparency International accepts no responsibility whatsoever for damage caused by viruses in connection with this email. Transparency International may monitor all emails and attachments as it is presumed that they are sent or received in connection with the activities of TI and to ensure the integrity of its computer systems. Statements and opinions contained in this email are those of the sender, not necessarily of Transparency International.




E - Card Happy New Year and Merry Christmas - VoiceTV




จาก: www.voicetv.co.th <no-reply@voicetv.co.th>
วันที่: 22 ธันวาคม 2553, 20:14
หัวเรื่อง: E - Card Happy New Year and Merry Christmas - VoiceTV
ถึง:





 

วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา ณ ห้องเสวนา ชั้น ๖ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

๑. หลักการและเหตุผล
          การ สอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา ในระบบ Admission ในปัจจุบัน ซึ่งถือได้ว่าเป็นระบบกลางในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ที่ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๙ แทนระบบเอ็นทรานซ์ที่ใช้อยู่เดิม โดยมีองค์ประกอบในการยื่นคะแนนเข้ามหาวิทยาลัย คือ 

          ๑. ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (GPAX) 
          ๒. ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test : O - NET) 
          ๓. ผลการสอบความถนัดทั่วไป (General Aptitude Test หรือ GAT) ๔. ผลการสอบความถนัดเฉพาะด้านวิชาการ ( Professional Aptitude Test หรือ PAD ) ซึ่งการรับสมัครสอบระบบ Admission จะเปิดรับสมัครเฉพาะทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น จึงอาจส่งผลกระทบต่อนักเรียนหรือผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่ไม่สามารถเข้าถึงระบบข้อมูลสารสนเทศ (ICT) ได้ทั่วถึง 

          ดัง นั้นคณะอนุกรรมการสื่อสารสาธารณะเพื่อสิทธิมนุษยชน จึงเห็นควรจัดการสัมมนาเพื่อสร้างความเข้าใจต่อสาธารณชน รวมทั้งระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนของสังคมเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเพื่อ ให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสอบแข่งขันในระบบ Admission ได้เข้าใจสภาพปัญหาที่เกิด
          จาก การรับสมัครสอบทางอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว ว่าอาจมีผลกระทบต่อผู้สมัครจำนวนมากที่ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบข้อมูล สารสนเทศ (ICT) ของรัฐอย่างทั่วถึง เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมและให้เกิดความเป็นธรรมกับบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชน ซึ่งจะเป็นการทำความเข้าใจที่ถูกต้องและสร้างการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนใน สังคมไทย 

          ๒. วัตถุประสงค์
          ๒.๑ เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการเรียนรู้และยกระดับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เรื่องสิทธิทางการศึกษา โดยเฉพาะการรับสมัครสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบันซึ่ง นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สมัคร แต่ขณะเดียวกันอาจส่งผลกระทบต่อบุคคลที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้เช่นกัน 
          ๒.๒ เพื่อเป็นเวทีให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการแสดงออกซึ่งความคิด เห็นและสะท้อนแนวคิดเพื่อให้เกิดการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 
          ๒.๓ เพื่อประชาสัมพันธ์และสร้างภาพลักษณ์องค์กร

          ๓. กลุ่มเป้าหมาย
          จำนวน ๑๕๐ คน ประกอบด้วย
          ๓.๑ นักเรียน นิสิต นักศึกษา
          ๓.๒ ประชาชนที่สนใจ 
          ๓.๓ นักวิชาการสถาบันการศึกษา / นักวิชาการอิสระ
          ๓.๔ เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐ
          ๓.๕ เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคม
          ๓.๖ สื่อมวลชน
          ๓.๗ อนุกรรมการฯ
          ๓.๘ เจ้าหน้าที่สำนักงานฯ

          ๔. ระยะเวลาดำเนินงาน

          วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา ณ ห้องเสวนา ชั้น ๖ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 

          ๕. ผู้รับผิดชอบโครงการ
          - คณะอนุกรรมการสื่อสารสาธารณะเพื่อสิทธิมนุษยชน
          - สำนักส่งเสริมและประสานงานเครือข่าย

          ๖. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
          ๖.๑ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดสอบสอบแข่งขันเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ในระบบ Admission เข้าใจและตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชนและนำแนวคิดดังกล่าวมาใช้เพื่อหาทางออกที่เหมาะสมในการกำหนดรูปแบบการรับสมัครสอบแข่งขันที่เอื้อประโยชน์และเป็นธรรมกับผู้สมัครทุกฝ่าย 
          ๖.๒ ประชาชนเห็นความสำคัญและสนใจติดตามการสัมมนา ซึ่งจะก่อให้เกิดการยกระดับการรับรู้และจิตสำนึกในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 
          ๖.๓ ประชาชนได้มีโอกาสสะท้อนมุมมอง ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถประมวลข้อคิดเห็นที่จะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานต่อไป 
          ๖.๔ สาธารณชนให้ความเชื่อถือและการยอมรับต่อการดำเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
          ๖.๕ สื่อมวลชนให้ความสนใจและนำผลการสัมมนาไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซึ่งจะทำให้เกิดความตระหนักและการขับเคลื่อนงานด้านสิทธิมนุษยชนในสังคมอย่างกว้างขวางต่อไป 
          ๖.๖ เป็นการเผยแพร่กิจกรรมและสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรให้เป็นที่รู้จักของสังคม 

          กำหนดการ

เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๓.๓๐ นาฬิกา - ลงทะเบียนการสัมมนา

เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๓.๔๕ นาฬิกา - กล่าวเปิดและแจ้งวัตถุประสงค์การสัมมนา
โดย นายแท้จริง ศิริพานิช
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประธานอนุกรรมการสื่อสารสาธารณะเพื่อสิทธิมนุษยชน
เวลา ๑๓.๔๕ – ๑๖.๓๐ นาฬิกา - อภิปรายเรื่อง " รับสมัครเฉพาะทางเน็ต : ละเมิดสิทธิจริงหรือ? "
โดย
๑. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
๒. นายอำนวย สุนทรโชติ
ประธานชมรมค่านิยมเพื่อสร้างชาติ
๓. รศ. นพ. สรนิต ศิลธรรม
รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. นางสาวศรัญญา จันนามวงค์ ตัวแทนนักเรียน
ดำเนินรายการโดย นายธีรพันธ์ นาทีกาญจนลาภ
อนุกรรมการสื่อสารสาธารณะเพื่อสิทธิมนุษยชน
เวลา ๑๖.๓๐ นาฬิกา - กล่าวปิดการสัมมนา
โดย นายแท้จริง ศิริพานิช
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประธานอนุกรรมการสื่อสารสาธารณะเพื่อสิทธิมนุษยชน 

          หมายเหตุ - ถ่ายทอดสดทางเครือข่ายวิทยุชุมชนและวิทยุอินเทอร์เน็ต ๒๐ สถานีทั่วประเทศ
          - บริการอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องประชุม



วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553

คีโมกับมะเร็ง เรื่องจริงที่หมอไม่ได้บอก

คีโมกับมะเร็ง เรื่องจริงที่หมอไม่ได้บอก

เขียนโดย Administrator   
วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม 2010 เวลา 11:31 น.
เราทุกคนกำลังอยู่ในภาวะเสี่ยงในเรื่องนี้ กันเกือบทุกคน  มาร่วมกันสร้างสุขภาพพึ่งตนเองกันเถอะ  พึ่งความรู้ ลดการพึ่งพาหมอ  เพราะหมอเองก็เกินกำลัง หากพวกเราไม่สร้างสุขภาพพึีงตนเอง
        หลัง จากหลายปีที่พูดกันว่าการทำคีโมเป็นทางเลือกเดียวที่จะ ลอง และใช้ในการกำจัดโรคมะเร็ง ในที่สุดโรงพยาบาลจอห์น ฮอพกินส์ก็เริ่มแนะนำถึงทางเลือกอื่นๆอีก

        ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับโรคมะเร็งจาก รพ.จอห์น ฮอพกินส์

        1. ทุกๆ คนมีเซลมะเร็งอยู่ในร่างกาย เซลมะเร็งเหล่านี้จะไม่ปรากฎด้วยวิธีการตรวจสอบตามมาตรฐาน จนกระทั่งมันขยายตัวเพิ่มขึ้นในระดับพันล้านเซล(1,000,000,000 เซล เมื่อแพทย์บอกว่าไม่มีเซลมะเร็งในร่างกายผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษา แล้ว มันหมายถึงว่าระบบไม่สามารถตรวจสอบเซลมะเร็งได้เพราะว่าจำนวนของมันยังไม่ มากพอ จนถึงระดับที่สามารถตรวจจับได้เท่านั้น

        2. เซลมะเร็งเกิดขึ้นระหว่าง 6 ถึงมากกว่า 10 ครั้งในช่วงอายุของคนๆหนึ่ง

        3. เมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแข็งแรงเพียงพอ เซลมะเร็งจะถูกทำลายและป้องกันไม่ให้เกิดการขยายตัวและกลายเป็นเนื้องอก

        4. เมื่อใครก็ตามเป็นมะเร็ง มันกำลังบอกว่าคนๆนั้นมีความบกพร่องหลายประการเกี่ยว
        กับโภชนาการ ซึ่งอาจเกิดจากยีน สิ่งแวดล้อม อาหารและปัจจัยอื่นๆในการดำรงชีวิต

        5. เพื่อ เอาชนะภาวะบกพร่องหลายประการเกี่ยวกับโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงประเภทของอาหารรวมทั้งสารอาหารบางอย่างจะช่วยให้ภูมิคุ้มกัน แข็งแรงขึ้น

        6. การทำ คีโมคือการให้สารเคมีที่มีความเป็นพิษกับเซลมะเร็งที่กำลังเติบโตอย่างรวด เร็ว แต่ขณะเดียวกัน มันก็จะทำลายเซลที่ดีที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในไขกระดูก ทำลายระบบทางเดินอาหาร ฯลฯ และเป็นสาเหตุทำให้อวัยวะบางส่วนถูกทำลาย เช่น ตับ ไต หัวใจ ปอด ฯลฯ

        8. การ บำบัดโดยคีโม และการฉายรังสีมักจะช่วยลดขนาดของเนื้องอกได้ในช่วงแรกๆ อย่างไรก็ตามถ้าทำไปนานๆพบว่ามักไม่ส่งผลต่อการทำลายเซลเนื้องอก

        9. เมื่อ ร่างกายได้รับสารพิษจากการทำคีโมหรือการฉายรังสีมากเกินไป ระบบภูมิคุ้มกันอาจปรับตัวเข้ากันได้หรือไม่ก็อาจถูกทำลายลง ดังนั้นคนๆนั้นจึงอาจตกอยู่ในอันตรายจากการติดเชื้อหลายชนิดและทำให้โรคมี ความซับซ้อนยิ่งขึ้น

        10. การทำ คีโมและการฉายรังสีอาจเป็นสาเหตุทำให้เซลมะเร็งกลาย พันธุ์ ดื้อยา และยากต่อการทำลาย การผ่าตัดก็อาจเป็นสาเหตุทำให้เซลมะเร็งกระจายไปทั่วร่างกาย

        11. วิธีที่ดีที่สุดในการทำสงครามกับมะเร็ง คือการไม่ให้เซลมะเร็งได้รับอาหารเพื่อนำไปใช้ในการขยายตัว

        อะไรคืออาหารที่ป้อนให้กับเซลมะเร็ง
        a. น้ำตาลคืออาหารของมะเร็ง การตัดน้ำตาลคือการตัดแหล่งอาหารสำคัญที่จ่ายให้กับเซลมะเร็ง สารทดแทนน้ำตาลอย่างเช่น "" นิวตร้าสวีต "" "" อีควล "" "" สปูนฟูล "" ฯลฯ ล้วนทำมาจากสารให้ความหวาน ซึ่งเป็นอันตราย สารทดแทนซึ่งเป็นกลางที่ดีกว่าคือน้ำผึ้งมานูคา (จากนิวซีแลนด์) หรือน้ำอ้อย แต่ในปริมาณน้อยๆเท่านั้น เกลือสำเร็จรูปก็ใช้สารเคมีในการฟอกขาว ควรหันไปเลือกใช้ "" แบรก อมิโน "" หรือเกลือทะเลแทน
        b. นม เป็นสาเหตุทำให้ร่างกายผลิตเมือก โดยเฉพาะในระบบทางเดินอาหาร เซลมะเร็งจะได้รับอาหารได้ดีในสภาวะที่มีเมือก การใช้นมถั่วเหลืองชนิดไม่หวานแทนนม จะทำให้เซลมะเร็งไม่ ได้รับอาหาร
        c. เซล มะเร็งเติบโตได้ดี ในภาวะแดล้อมที่เป็นกรด อาหารจำพวกเนื้อจะสร้างสภาวะกรดขึ้น ดังนั้นจึงควรหันไปรับประทานปลาจะดีที่สุด รองลงไปคือรับประทานไก่แทนเนื้อและหมู ในเนื้ออาจมียาฆ่าเชื้อ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโตในสัตว์ และเชื้อปรสิตบางประเภทตกค้างอยู่ ซึ่งล้วนเป็นอันตราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคนที่เป็นมะเร็ง
        d. อาหารที่ประกอบด้วยผักสด 80% และน้ำผลไม้ พืชจำพวกหัว เมล็ด ถั่วเปลือกแข็ง และผลไม้จำนวนเล็กน้อย จะช่วยทำให้ร่างกายมีสภาวะเป็นด่าง อาหารอีก20% อาจได้มาจากการทำอาหารร่วมกับพืชจำพวกถั่ว น้ำผักสดจะให้เอ็นไซม์ซึ่งสามารถดูดซึมได้ง่ายและซึมทราบสู่ระดับเซลภายใน 1 นาที เพื่อบำรุงร่างกายและส่งเสริมการเจริญเติบโตของเซลที่ดี เพื่อให้ได้เอ็นไซม์ในการสร้างเซลที่ดี ให้พยายามดื่มน้ำผักสด ( ผักส่วนใหญ่รวมทั้งถั่วที่มีหน่อหรือต้นอ่อน) และรับประทานผักสดดิบ2-3 ครั้งต่อวัน เอ็นไซม์จะถูกทำลายได้ง่ายที่อุณหภูมิ140 องศา F ( ประมาณ 4 องศา C)
        e. ให้ หลีกเลี่ยงกาแฟ น้ำชา และช๊อ กโกแลต ซึ่งมีคาเฟอีนสูง ชาเขียวถือเป็นทางเลือกที่ดีและมีคุณสมบัติในการต้านมะเร็ง น้ำดื่มให้เลือกดื่มน้ำบริสุทธิ์ หรือที่ผ่านการกรอง เพื่อหลีกเลี่ยงท๊อกซินและโลหะหนักในน้ำประปา น้ำกลั่นมักมีสภาพเป็นกรด ให้หลีกเลี่ยง

        12. โปรตีน จากเนื้อจะย่อยยาก และต้องการเอ็นไซม์หลายชนิดมาช่วยในการย่อย เนื้อสัตว์ที่ไม่สามารถย่อยได้ในระบบทางเดินอาหารจะเกิดการบูดเน่าและมีความ เป็นพิษมากขึ้น

        13. ผนัง ของเซลมะเร็งจะมีโปรตีนห่อหุ้มไว้ การงดหรือการรับประทานเนื้อสัตว์น้อยลง จะทำให้มีเอ็นไซม์เหลือมากพอมาใช้โจมตีกำแพงโปรตีนที่ห่อหุ้มเซลมะเร็ง และช่วยให้เซลของร่างกายสามารถกำจัดเซลมะเร็งได้ดีขึ้น

        14. สารอาหารบางอย่างอาจช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน ( สารIP6 [inositol hexaphosphate หรือ phyti acid],สาร Flor-essence, สาร Essiac, สารแอนตี้-อ๊อกซิแดนส์ , วิตามิน , เกลือแร่ , EFAs ฯลฯ) เพื่อช่วยให้เซลของร่างกายสามารถกำจัดเซลมะเร็งได้ดีขึ้น สารอาหารอื่นๆเช่น วิตามินอี เป็นที่ทราบกันดีว่าทำให้เกิดการตายลงของเซล หรือ กำหนดระยะเวลาการตายของเซล ซึ่งเป็นกลไกธรรมชาติของร่างกายในการกำจัดเซลที่ถูกทำลาย ซึ่งไม่เป็นที่ต้องการ หรือไม่มีประโยชน์ออกไป

        15. มะเร็ง เป็นโรคที่สัมพันธ์กับจิตใจ ร่างกาย และจิตวิญญาณ การป้องกันเชิงรุกและการคิดในเชิงบวกจะช่วยให้เราสามารถอยู่รอดจากการทำ สงครามกับมะเร็ง.... ความโกรธ การไม่รู้จักให้อภัย และความขมขื่นใจ จะทำให้ร่างกายเกิดความตึงเครียดและมีสภาวะเป็นกรดเพิ่มขึ้น ให้เรียนรู้ที่จะมีความรักและจิตวิญญาณแห่งการให้อภัย เรียนรู้ที่จะผ่อนคลายและมีความสุขกับชีวิต

        16. เซลมะเร็งไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในสภาวะที่มีอ๊อก ซิเจนเป็นจำนวนมาก การออกกำลังกายทุกวัน และการหายใจลึกๆจะช่วยให้ร่างกายได้รับอ๊อกซิเจนเพิ่มขึ้นลงไปจนระดับเซล การบำบัดด้วยอ๊อกซิเจนถือเป็นวิธีการอีกอย่างที่ใช้ในการทำลายเซลมะเร็ง  

 http://www.tuvolunteer.org/index.php?option=com_content&view=article&id=204%3A%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%87-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%81&catid=10%3A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89&Itemid=2

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม 2553 13:00-17:15 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 17 อาคาร บสก. ถ.สุรศักดิ์

เสวนาวิชาการครั้งที่ 99 
“รถไฟความเร็วสูงพัฒนาระบบคมนาคมสู่ภูมิภาค: ผลดีและผลกระทบ”
 
วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม 2553 13:00–17:15 
ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 17 อาคาร บสก. ถ.สุรศักดิ์
 
 
มูลนิธิประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย ร่วมกับโรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ไทย จัดการเสวนาวิชาการรายเดือนเพื่อเผยแพร่ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงข่ายระบบ รางของประเทศไทยตามนโยบายรัฐบาลและเพื่อวิเคราะห์ถึงผลดีและผลกระทบต่อการ พัฒนาระบบโลจิสติคส์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
 
กำหนดการ      
12:30   ลงทะเบียน
13:00   เปิดการเสวนาและแสดงปาฐกถา “รถไฟความเร็วสูงพัฒนาระบบคมนาคมสู่ภูมิภาค: ผลดีและผลกระทบ”
            นายโสภณ ซารัมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประธานการเสวนาวิชาการ
            ศาสตราภิชาน กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล ประธานกรรมการอำนวยการ มูลนิธิฯ (กล่าวรายงาน)
14:00   นำเสนอแผนการดำเนินการรถไฟความเร็วสูง
            นายสุพจน์ ทรัพย์ล้อม ปลัดกระทรวงคมนาคม
14:30   รายงานผลการทดสอบตลาด (Market sounding) เกี่ยวกับการสร้างรถไฟความเร็วสูง
            ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร* 
15:00   พัก-รับประทานเครื่องดื่ม เครื่องเคียง
15:15   ปาฐกถาพิเศษ ผลดีของการมีรถไฟความเร็วสูงต่อการพัฒนาประเทศ: กรณีศึกษาสาธารณรัฐประชาชนจีน
            Mr.Guan Mu เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย
15:45   การอภิปรายผลดีหรือผลกระทบต่อการพัฒนาระบบโลจิสติคส์และภาคอุตสาหกรรมของประเทศ
            นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง*
            ดร.สมชัย สัจจพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)*
            นายอธิป พีชานนท์ กรรมการบริหาร หอการค้าไทย
            ผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย*
            ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบการขนส่งและจราจร (สพร.)*
             ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย (ดำเนินการ)
17:15   ปิดการเสวนา 
 
*วิทยากรซึ่งอยู่ระหว่างเรียนเชิญ